เครียดแค่ไหนก็ยังสู้ไหวด้วยการเพิ่มขีดจำกัดในการอดทน
คุณเคยได้ยินประโยคนี้บ้างไหมคะ “แค่เพราะฉันแบกมันไหว ไม่ได้แปลว่ามันไม่หนัก” หลายคนมีลักษณะภายนอกที่ทำให้คนอื่นมองว่าชีวิตไม่คงมีปัญหาอะไร
สัญญาณเหล่านี้อาจบ่งชี้ว่าคุณเคยมีบาดแผลทางใจในวัยเด็ก (Childhood Trauma)
ในปัจจุบันแวดวงจิตบำบัดเริ่มให้ความสนใจเกี่ยวกับบาดแผลทางใจในวัยเด็ก (Childhood Trauma)
เมื่อการทำงานมันกัดกินใจ จะรับมือยังไงกับความเครียดที่เกิดขึ้นได้บ้าง?
ความเครียดกับการทำงานมักเป็นของคู่กันอยู่แล้ว ต่อให้ได้ทำงานที่ตัวเองรักแต่ขึ้นชื่อว่า “ทำงาน” ยังไงก็ต้องมีความเครียดเกิดขึ้น
คิดว่ามีคนนินทาหรือตัวเองถูกพาดพิงถึง แค่ไหนจึงควรไปพบจิตแพทย์?
แน่นอนว่าทุกคนล้วนต้องเคยถูกนินทาหรือถูกเอาไปพาดพิงถึงอย่างน้อยก็สักครั้งหนึ่งในชีวิต โดยการนินทาเป็นพฤติกรรมที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน
แนวทางการจัดการกับอารมณ์และสภาวะความเครียดด้วย CBT
ญหาเกี่ยวกับอารมณ์และความเครียดนั้นเป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่ต่างต้องเผชิญ ในความเป็นจริงแล้วความเครียดในระดับที่เหมาะสมถือว่าจำเป็นต่อชีวิต
นักจิตวิทยาแนะนำ 7 เทคนิค รับมือกับลูกขี้หงุดหงิดแบบพ่อ แม่ มือโปร
พ่อ แม่ ที่มีลูกวัยทอง 2 ขวบ จนถึงลูกวัยรุ่น ต่างประสบปัญหากับลูกขี้หงุดหงิด บางทีก็หงุดหงิดแบบมีเหตุผล พูดคุยกันได้
เพราะเราไม่สามารถควบคุมทุกเรื่องในชีวิตได้ ความยืดหยุ่นทางใจจึงสำคัญ
หลายคนน่าจะเคยได้ยินประโยคอันโด่งดังเกี่ยวกับเรื่องกำเนิดสปีชีส์ของ Charles Darwin ที่มักจะถูกหยิบยกมาจากงานเขียนของ Leon C. Megginson(1963)
บุคลากรสุขภาพจิตก็ป่วยจิตเวชได้ และความเจ็บป่วยทางใจไม่ได้น่าอายอย่างที่คิด
สำหรับในสังคมไทย มุมมองต่อผู้ป่วยจิตเวชดูเหมือนจะเป็นไปในทิศทางบวกมากขึ้น ต่างจากเดิมที่ผู้ป่วยจิตเวชมักจะถูกตีตราและโรงพยาบาลจิตเวช
Homesick จากบ้านไปไกล จะทำยังไงเมื่อใจพังในต่างแดน
แม้ว่ากระแสการอยากย้ายไปอยู่ต่างประเทศของคนไทยจะมาแรงจนแฮชแท็กย้ายประเทศกันเถอะกลายเป็นอีกแฮชแท็กหนึ่งที่ขึ้นเทรนอันดับต้น ๆ
นอนน้อยไม่เท่ากับโปรดักทีฟ เพราะการอดนอนอาจบั่นทอนสุขภาพจิตของคนเราได้
หลายสังคมมีความเชื่อว่าการทำงานหรืออ่านหนังสืออย่าง “ไม่หลับไม่นอน” เป็นภาพสะท้อนของความมีประสิทธิผล (productive)