ควรหย่าดีไหม? และเมื่อไหร่ที่ควรไปพบนักจิตวิทยาด้านคู่สมรส
การรักษาความสัมพันธ์นั้นไม่ได้ง่าย การมีชีวิตคู่นั้น ความรักเพียงอย่างเดียวไม่พอเพราะต้องอาศัยปัจจัยมากมายเพื่อประคับประคองกันไป
รู้จักกับ “Resilience” เครื่องมือดูแลใจให้ไม่จมดิ่งไปกับความทุกข์
Resilience มีผู้แปลเป็นไทยเอาไว้อย่างหลากหลาย เช่น ความหยุ่นตัว ความยืดหยุ่นทางใจ ความเข้มแข็งทางใจ การฟื้นคืนได้ พลังสุขภาพจิต เป็นต้น
5 เทคนิคจิตวิทยาในการดูแลสุขภาพจิตผู้ป่วย Covid – 19 ให้แข็งแกร่ง
Covid – 19 สายพันธุ์โอไมครอนจะติดง่าย แต่หากเราได้รับการรักษาไว เราก็สามารถหายได้ไว ข้อแนะนำในการดูแลสุขภาพจิตผู้ป่วย Covid – 19 มาฝากกันค่ะ
12 วิธีเพิ่มทักษะ Resilience เพื่อรับมือภาวะ Long Covid
“Resilience” มีผู้เชี่ยวชาญทางจิตวิทยาแปลเป็นภาษาไทยไว้หลากหลาย ทั้ง ความสามารถในการฟื้นตัว ทักษะการฝึกใจให้แข็งแกร่ง หรือ ทักษะความใจสู้
นักจิตวิทยาแนะนำ 5 วิธีดูแลสุขภาพจิต ในสถานการณ์ Covid – 19 รุนแรง
5 วิธีดูแลสุขภาพจิต ในวันที่ Covid – 19 รุนแรง เพื่อเป็นแนวทางให้คุณนำไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพจิตใจของตนเองและคนที่คุณรักให้แข็งแรง
นักจิตวิทยาแนะนำ 6 เทคนิครับมือกับอาการซึมเศร้าหลังวันหยุดยาว
อาการซึมเศร้าหลังวันหยุดยาว หรือ Post - Vacation Blues มีสาเหตุจากการลดระดับอย่างรวดเร็วแบบเฉียบพลันของฮอร์โมน Endorphin
นักจิตวิทยาแนะนำ 6 วิธีหยุดความรุนแรงในครอบครัว
ในทางจิตวิทยา การส่งต่อความรุนแรงในครอบครัวนั้น ไม่ใช่การส่งผ่านทางพันธุกรรม แต่เป็นการส่งผ่านทางการเลี้ยงดู ทำให้เกิดการเลียนแบบ
สุขภาพใจพัง สู้ต่อไปไม่ไหว ควรไปพบจิตแพทย์ไหม?
เชื่อว่าในช่วงชีวิตของทุกคนย่อมต้องเคยประสบกับเหตุการณ์หรือช่วงเวลาที่มีความตึงเครียดสูง จนส่งผลกระทบต่อสภาวะทางอารมณ์และการดำเนินชีวิต
5 เทคนิครักษาสุขภาพจิตในยุค Post New Normal ตามหลักจิตวิทยา REBT
นิยามของ “Post New Normal” ไว้ว่า คือสภาพสังคมที่คนเราต้องกลับมาใช้ชีวิตตามปกติ แต่ต้องรักษาระยะห่างทางสังคมไปพร้อมๆกัน
อยากคิดบวก แต่ใจไม่บวกตาม? อาจเพราะคุณเข้าใจคำว่า “คิดบวก” ผิด!
คำว่าคิดบวก มาจากภาษาอังกฤษว่า positive thinking การคิดบวกอาจหมายถึงการที่บุคคลคิดอยู่บนความเป็นจริง