เสพติดการอ่านข่าวร้ายทั้งที่รู้ว่ามันไม่ดีต่อใจ คุณอาจเข้าข่ายมีพฤติกรรม ‘Doomscrolling’
Doomscrolling คำนี้ใช้เรียกพฤติกรรมของคนที่เช็คโทรศัพท์มือถือเกินกว่า 2 ชั่วโมงเพื่อเลื่อนดูข่าวร้ายที่อยู่ใน Social Media จนแทบจะไม่นอน
5 เทคนิครักษา Work Life Balance กับการทำงานในสถานการณ์ Covid - 19
Work From Home เป็นการทำงานในสภาพแวดล้อมที่คนส่วนใหญ่ไม่คุ้นชินมากนัก จนเป็นเหตุให้เกิดการเสีย Work Life Balance ได้
3 วิธีจัดการอาการนอนไม่หลับ ในช่วงที่ต้องเรียนออนไลน์
การนอนไม่หลับส่งผลกระทบต่อบุคคลได้ถึงขั้นมีความรู้สึกไร้ค่าเกิดขึ้น มีอารมณ์เหวี่ยงวีน ตามมาด้วยปัญหาสุขภาพจิตอย่างโรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า
นักจิตวิทยาแนะนำ 6 วิธีควบคุมความโกรธ ก่อนที่ความโกรธจะควบคุมคุณ
ความโกรธ (Anger) เป็นอารมณ์หนึ่งของคนเราที่มักจะเกิดขึ้นเมื่อมีบางคนหรือบางสิ่งทำให้รู้สึกไม่โอเค อันที่จริงความโกรธนั้นก็มีประโยชน์
“Hate Speech” วิธีรับมือกับคำพูด ที่คนพูดไม่เคยจำแต่คนฟังเก็บมาคิด
Hate Speech คือ การสื่อสารที่สร้างความเกลียดชังทั้งในรูปแบบการด่าทอด้วยคำหยาบคายก็ตาม การใช้คำรุนแรงแบบไม่หยาบคายก็ตาม
12 วิธีเพิ่มทักษะ Resilience เพื่อรับมือภาวะ Long Covid
“Resilience” มีผู้เชี่ยวชาญทางจิตวิทยาแปลเป็นภาษาไทยไว้หลากหลาย ทั้ง ความสามารถในการฟื้นตัว ทักษะการฝึกใจให้แข็งแกร่ง หรือ ทักษะความใจสู้
นักจิตวิทยาแนะนำ 6 วิธีรับมือกับความเครียดเรื้อรัง
ความเครียดเรื้อรังส่งผลเสียต่อร่างกายได้เนื่องจากร่างกายที่ต้องตอบสนองต่อสภาวะเครียดอยู่เป็นเวลานาน จะไม่สามารถเข้าสู่สภาวะพักได้ตามปกติ
นักจิตวิทยาแนะนำ 5 วิธีดูแลสุขภาพจิต ในสถานการณ์ Covid – 19 รุนแรง
5 วิธีดูแลสุขภาพจิต ในวันที่ Covid – 19 รุนแรง เพื่อเป็นแนวทางให้คุณนำไปปรับใช้ในการดูแลสุขภาพจิตใจของตนเองและคนที่คุณรักให้แข็งแรง
นักจิตวิทยาแนะนำ 6 เทคนิครับมือกับอาการซึมเศร้าหลังวันหยุดยาว
อาการซึมเศร้าหลังวันหยุดยาว หรือ Post - Vacation Blues มีสาเหตุจากการลดระดับอย่างรวดเร็วแบบเฉียบพลันของฮอร์โมน Endorphin
ความวิตกกังวล VS โรควิตกกังวล กังวลแค่ไหนถึงควรพบนักจิตวิทยา
บทความนี้จะขอแนะนำทุกท่านให้รู้จักกับ “โรควิตกกังวล” หรือ Anxiety Disorder เนื่องจากอาการในระยะเริ่มแรกคล้ายกับความวิตกกังวลทั่วไปมาก