”Birthday Blues” นักจิตวิทยาแนะนำอย่างไร เมื่อใจหดหู่ในวันเกิด
วันเกิดถือว่าเป็นวันสำคัญของชีวิต เป็นวันเริ่มต้นอายุใหม่ เป็นหมุดหมายในการเริ่มต้นสิ่งที่ดี แต่หลาย ๆ คน กับเกิดภาวะ Birthday Blues
“Passive Suicidal” อยากตายแต่ไม่อยากฆ่าตัวตาย สิ่งที่คนยุคใหม่หลายคนกำลังเผชิญ
ในระยะหลังสังคมน่าจะเริ่มได้ยินคำว่า “อยู่ก็ได้ตายก็ดี” ซึ่งบางคนก็เรียกมันว่า “Passive Death Wish” หรือ “Passive Suicidal”
เมื่อเรายิ้มแต่ไม่ได้สุขใจ สังเกตอย่างไรว่าเป็น Smiling Depression
เรามักจะติดภาพว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ต้องเศร้า ต้องซึม สีหน้าต้องอมทุกข์ แต่บทความจิตวิทยานี้จะชวนมารู้จักอาการหนึ่งของโรคซึมเศร้า
รู้จัก PMDD อาการซึมเศร้าก่อนมีประจำเดือนที่ฟังดูเหมือนไม่น่าจะมีอยู่จริงแต่ก็มีอยู่จริง
หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “มนุษย์เมนส์” ซึ่งหมายถึงผู้หญิงในช่วงก่อนมีประจำเดือนที่มีอารมณ์อ่อนไหวเป็นพิเศษทำให้มีพฤติกรรม
รู้หรือไม่? คุณแม่บางคนอาจมีอาการซึมเศร้าได้ตั้งแต่ยังไม่คลอด (Perinatal Depression)
จากกระแสของละคร “สงครามสมรส” ทำให้มีหลายคนเริ่มหยิบยกเอาประเด็นเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดขึ้นมาพูดถึงกันมากขึ้น
บุคลากรสุขภาพจิตก็ป่วยจิตเวชได้ และความเจ็บป่วยทางใจไม่ได้น่าอายอย่างที่คิด
สำหรับในสังคมไทย มุมมองต่อผู้ป่วยจิตเวชดูเหมือนจะเป็นไปในทิศทางบวกมากขึ้น ต่างจากเดิมที่ผู้ป่วยจิตเวชมักจะถูกตีตราและโรงพยาบาลจิตเวช
Homesick จากบ้านไปไกล จะทำยังไงเมื่อใจพังในต่างแดน
แม้ว่ากระแสการอยากย้ายไปอยู่ต่างประเทศของคนไทยจะมาแรงจนแฮชแท็กย้ายประเทศกันเถอะกลายเป็นอีกแฮชแท็กหนึ่งที่ขึ้นเทรนอันดับต้น ๆ
ชวนรู้จัก Summer Depression แม้ร้อนกายแต่ใจก็ยังซึมเศร้าอยู่ดี
หลานท่านคงเคยรู้จักกับ “โรคซึมเศร้าตามฤดูกาล” หรือในทางจิตวิทยาเรียกว่า SAD (Seasonal Affective Disorder) กันมาบ้างแล้วว่า
ดูแลความสัมพันธ์อย่างไรในวันที่คนรักเป็นโรคซึมเศร้า
ในฐานะคู่รักของผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าหรือมีภาวะซึมเศร้า คุณอาจรู้สึกสับสน หมดหนทาง หรือไม่แน่ใจว่าจะช่วยเหลือคนรักของคุณได้อย่างไร
นักจิตวิทยา นักให้คำปรึกษา และโค้ช: เลือกผู้เชี่ยวชาญคนไหนที่จะพาคุณไปสู่สุขภาพใจที่ดี
คุณจะเลือกคุยกับใครดี นักจิตวิทยา นักให้คำปรึกษา หรือโค้ช แม้บทบาทเหล่านี้อาจดูเหมือนคล้ายคลึงกัน แต่แต่ละบทบาทต่างก็มีขอบข่ายความเชี่ยวชาญ